รูปประจำตัว
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล
Associate Professor Dr. Panuphan Prapatigul
พนักงานมหาวิทยาลัยประจำ สายวิชาการ
รองศาสตราจารย์
สาขาวิชาส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร ภาควิชาพัฒนาเศรษฐกิจการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โทรศัพท์ : 053-944066
อีเมล : panuphan.p@cmu.ac.th
การศึกษา Education
- 2554 : ปริญญาเอก วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ส่งเสริมการเกษตรและพัฒนาชนบท), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ไทย
งานบริหาร Management
- ผู้อำนวยการศูนย์ ศูนย์บริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร (01/10/2567 - 30/09/2571)(ดำรงตำแหน่ง)
- รองหัวหน้าภาควิชา ภาควิชาพัฒนาเศรษฐกิจการเกษตร (16/08/2566 - 01/10/2567)(พ้นจากตำแหน่งตามหัวหน้าผู้เสนอ)
- รองผู้อำนวยการ สำนักบริการวิชาการ (01/08/2561 - 26/08/2561)(รักษาการแทน)
- รองผู้อำนวยการ สำนักบริการวิชาการ (26/01/2561 - 31/07/2561)(รักษาการแทน)
งานสอน Teaching
AET 352311 หลักการส่งเสริมการเกษตร (Principles of Agricultural Extension)
AET 352316 หลักการวิจัยทางส่งเสริมการเกษตร (Principle of Agricultural Extension Research)
AET 352317 มนุษยสัมพันธ์และนันทนาการในการส่งเสริมการเกษตร (Human Relations and Recreation in Agricultural Extension)
AET 352323 การพัฒนาการเกษตรสมัยใหม่ (Modern Agricultural Development)
AET 352441 การวางแผนและประเมินผลโครงการส่งเสริมการเกษตร (Planning and Evaluation of Agricultural Extension Project)
AET 352712 ระเบียบวิธีวิจัยทางการส่งเสริมการเกษตร (Research Methodology in Agricultural Extension)
AET 352713 การวางแผนและประเมินผลงานส่งเสริมการเกษตร (Planning and Evaluation in Agricultural Extension)
AET 352717 การส่งเสริมการเกษตรกับมาตรฐานสินค้าเกษตร (Agricultural Extension and Agricultural Commodity Standards)
AET 352793 การศึกษาดูงานด้านส่งเสริมการเกษตร (Agricultural Extension Study Tour)
AET 352798 การค้นคว้าอิสระ (Independent Study)
AET 352799 วิทยานิพนธ์ปริญญาโท (Master’s Thesis)
AET 352822 การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ในงานส่งเสริมการเกษตร (Strategic of Planning and Management in Agricultural Extension)
AET 352841 การพัฒนากลุ่มและสถาบันเกษตรกรในงานส่งเสริมการเกษตร (Development of Farmer Group and Institution in Agricultural Extension)








เอกสารวิชาการ
วารสาร
   ระดับชาติ
2567 เสกสรรค์ ดวงสิงห์ธรรม ภาณุพันธ์ ประภาติกุล ณฐิตากานต์ พยัคฆา ดรัลรัตน์ ใจเที่ยง และ บัญชา สมบูรณ์สุข. 2567. ความพึงพอใจต่อการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรชาวสวนยางรุ่นใหม่ ภายใต้แนวคิดลูกยางคืนถิ่น ของเกษตรกรผู้ปลูกยางพาราในพื้นที่ภาคเหนือ, ประเทศไทย. แก่นเกษตร 52 (ฉบับเพิ่มเติม 1): 287-294.
2567 ธราเทพ ประชุมของ ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล เถลิงศักดิ์ อังกุรเศรณี และ ศิริมงคล หมื่นแจ่ม. 2567. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการใช้งานแอปพลิเคชันเซียนแดรี่ของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมในจังหวัดเชียงใหม่. แก่นเกษตร 52(ฉบับเพิ่มเติม 1): 279-286.
2567 ปรียาภรณ์ ขันทบัว ณฐิตากานต์ พยัคฆา ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล และ ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ. 2567. การประเมินความรู้ของเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟบ้านมณีพฤกษ์ ตำบลงอบ อำเภอทุ่งช้าง จังหวัดน่าน เพื่อพัฒนาสู่การขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย. แก่นเกษตร 52(1): 185-195.
2567 เหมือนฝัน อุประ ณฐิตากานต์ พยัคฆา ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล และ ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ. 2567. ความตระหนักของเกษตรกรต่อปัญหาการใช้ที่ดินเพื่อการเพาะปลูกบนพื้นที่สูงในอำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารผลิตกรรมการเกษตร 6(1): 1-10.
2567 อัญชลี ปัญญากวาว ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล สุรพล เศรษฐบุตร และ วรทัศน์ อินทรัคคัมพร. 2567. การวิเคราะห์ศักยภาพด้านการบริหารจัดการของกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกข้าวอินทรีย์ในอำเภอจุน จังหวัดพะเยา. วารสารผลิตกรรมการเกษตร 6(1): 11-20.
2566 เสกสรรค์ ดวงสิงห์ธรรม ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล สุรพล เศรษฐบุตร และ ณฐิตากานต์ พยัคฆา. 2566. สภาพการผลิตกาแฟอาราบิก้าของเกษตรกรบ้านปางไฮ ตำบลเทพเสด็จ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่. แก่นเกษตร 51(ฉบับเพิ่มเติม 1): 83-89.
2566 พงศ์ศิริ ตารินทร์ ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล วรทัศน์ อินทรัคคัมพร และ แสงทิวา สุริยงค์. 2566. ความต้องการการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้านในจังหวัดพะเยา. แก่นเกษตร 51(ฉบับเพิ่มเติม 1): 75-82.
2566 เฉลิมพงษ์ เชื้อสะอาด ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล ณฐิตากานต์ พยัคฆา และ ทศพล มูลมณี. 2566. ความต้องการการส่งเสริมการผลิตแพะเนื้อของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดลำพูน และจังหวัดลำปาง. แก่นเกษตร 51(6): 1167-1181.
2566 สายยัน จิดตะวง ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล ณฐิตากานต์ พยัคฆา และ แสงทิวา สุริยงค์. 2566. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้และการปฏิบัติของเกษตรกรผู้ปลูกผักอินทรีย์ในการใช้สมุนไพรควบคุมแมลงศัตรูพืชในนครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วารสารผลิตกรรมการเกษตร 5(3): 40-49.
2565 เสกสรรค์ ดวงสิงห์ธรรม ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล สุรพล เศรษฐบุตร และ อภิญญา รัตนไชย. 2565. สภาพการผลิตและการตลาดโคเนื้อบนพื้นที่สูง กรณีศึกษา อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารแก่นเกษตร 50(1): 92-97.
2565 ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล และ วุฒิชัย คำดี. 2656. ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการดำเนินโครงการส่งเสริมและพัฒนามาตรฐานการผลิต ไก่ประดู่หางดำเชียงใหม่เพื่อการค้าของเกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน, ประเทศไทย. วารสารแก่นเกษตร 50(3): 657-667.
2565 เสกสรรค์ ดวงสิงห์ธรรม อภิญญา รัตนไชย และ ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล. 2565. แนวทางการพัฒนาการเลี้ยงโคเนื้อของเกษตรกรในอำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา. วารสารแก่นเกษตร 50(3): 668-681.
2565 ดำดวน อำไพทิบ ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล วรทัศน์ อินทรัคคัมพร และ จุฑามาส คุ้มชัย. 2565. ความรู้และการปฏิบัติในการผลิตกระวานของเกษตรกร อำเภอนาหม้อ จังหวัดอุดมไซ สปป.ลาว. วารสารแก่นเกษตร 50(3): 668-681.
2565 อุมาพร สุวจะ ณฐิตากานต์ พยัคฆา ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล และ มนตรี ปัญญาทอง. 2565. ความคิดเห็นของเกษตรกรรายย่อยต่อการปรับเปลี่ยนไปสู่การเลี้ยงไก่ไข่อินทรีย์ในจังหวัดเชียงใหม่. วารสารแก่นเกษตร. 50(6): 1606-1616.
2564 เสกสรรค์ ดวงสิงห์ธรรม ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล สุรพล เศรษฐบุตร พรสิริ สืบพงษ์สังข์ และ อภิญญา รัตนไชย. 2564. ความรู้และการปฏิบัติในการเลี้ยงโคเนื้อของเกษตรกรในอำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารแก่นเกษตร 48(พิเศษ)(1): 214-220.
2564 ณฐิตากานต์ พยัคฆา ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล สุรพล เศรษฐบุตร กรรณิกา แซ่ลิ่ว และ อนุพงศ์ วงศ์ไชย. 2564. การมีส่วนร่วมของชาวบ้านในการจัดทำแผนชุมชนบ้านอาแบ ตำบลแม่สลองนอก อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย. วารสารแก่นเกษตร 48(พิเศษ)(1): 752-757.
2564 ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล วรทัศน์ อินทรัคคัมพร และ สุรพล เศรษฐบุตร. 2564. การแสวงหาแหล่งอาหารหยาบจากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในชุมชน สำหรับการเลี้ยงโคเนื้อ: กรณีศึกษา กลุ่มผู้เลี้ยงโคเนื้อ อำเภอปัว จังหวัดน่าน. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชุมชน 9(2): 278-288.
2564 สุวัชรีภรณ์ จิตใจ เยาวเรศ เชาวนพูนผล ณฐิตากานต์ พยัคฆาภาณุพันธุ์ ประภาติกุล สุรพล เศรษฐบุตร ธีระพงษ์ เสาวภาคย์ และ กรรณิกา แซ่ลิ่ว. 2564. การจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตรวิถีชุมชนหมู่บ้านสันทางหลวง อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย วารสารแก่นเกษตร 48(พิเศษ)(1): 650-656.
2564 พิกุล ประวัติเมือง ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล สุรพล เศรษฐบุตร และ ทศพล มูลมณี. 2564. การปรับตัวของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมในจังหวัดเชียงใหม่เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเขตการค้าเสรี. วารสารผลิตกรรมการเกษตร 3(2): 43-45.
2564 อาจรีย์ วันเมือง วรทัศน์ อินทรัคคัมพร ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล และ แสงทิวา สุริยงค์. 2564. ความต้องการการส่งเสริมการผลิตข้าวอินทรีย์ของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่. วารสารผลิตกรรมการเกษตร 3(3): 57-66.
2564 ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล และ กรรณิกา แซ่ลิ่ว. 2564. การผลิตและการตลาดแพะเนื้อในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย. วารสารผลิตกรรมการเกษตร 3(3): 67-80.
2564 ศุภกิจ สิทธิวงค์ ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล วรทัศน์ อินทรัคคัมพร และ พัชรินทร์ ครุฑเมือง. 2564. ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้จุลินทรีย์ในการกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกร จังหวัดเชียงใหม่. วารสารผลิตกรรมการเกษตร 3(3): 93-104.
2563 ปฐมพงศ์ ฤกษ์ดี วรทัศน์ อินทรัคคัมพร ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล และ มนตรี ปัญญาทอง. 2563. ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้เปลือกข้าวโพดหมักในการเลี้ยงโคเนื้อของเกษตรกร อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารแก่นเกษตร 48(1): 401-408.
2563 นิติพล มากมูล ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล สุรพล เศรษฐบุตร และ ธนะชัย พันธ์เกษมสุข. 2563. ความเป็นไปได้ในการปฏิบัติตามมาตรฐานการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืนของเกษตรกรผู้ปลูกยางพาราในอำเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย. วารสารแก่นเกษตร 48(1): 599-606.
2563 เสาวณีย์ เล็กบางพง อภิญญา รัตนไชย และ ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล. 2563. การใช้ประโยชน์ข่าวสารทางการเกษตรของเกษตรกร ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา. วารสารแก่นเกษตร 48(1): 811-818.
2562 ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล วรทัศน์ อินทรัคคัมพร และ สุรพล เศรษฐบุตร. 2562. การส่งเสริมการผลิตพืชแบบไม่ไถพรวนแก่เกษตรกรต้นแบบ ตำบลแม่นาจร อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อความยั่งยืนด้านการทำเกษตรกรรมของชุมชนบนพื้นที่สูง. แก่นเกษตร 47(พิเศษ)(1): 473-478.
2562 กฤษฎา คำจันทร์ ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล วรทัศน์ อินทรัคคัมพร และแสงทิวา สุริยงค์. 2562. ทัศนคติของเกษตรกรต่อโครงการประกันภัยข้าวนาปีใน อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา. แก่นเกษตร 47(พิเศษ)(1): 1053-1058.
2562 ณรงค์ศักดิ์ สิงหันต์ ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล และ สุกัลยา เชิญขวัญ. 2562. ความต้องการฝึกอบรมด้านการพัฒนาที่ดินของหมอดินอาสาประจำตำบลในจังหวัดอุดรธานี. แก่นเกษตร 47(4): 773-786.
2562 ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล วรทัศน์ อินทรัคคัมพร สุรพล เศรษฐบุตร ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ และ เสกสรรค์ ดวงสิงห์ธรรม. 2562. การถอดบทเรียนการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการเกษตร กรณีศึกษา: ผู้นำเกษตรกรเครือข่าย ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่. แก่นเกษตร 47(พิเศษ)(1): 467-472.
2562 ภูวไนย ต่ายแต้มทอง วรทัศน์ อินทรัคคัมพร จุฑาทิพย์ เฉลิมผล ดุษฎี ณ ลำปาง และ ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล. 2562. การพัฒนาตัวชี้วัดความยั่งยืนของชุมชนบนพื้นที่สูงภายใต้โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง. แก่นเกษตร 47(พิเศษ)(1): 435-440.
2561 ชลธิชา ฐานะ ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล และ ประภัสสร เกียรติสุรนนท์. 2561. ความรู้และการปฏิบัติตามเทคโนโลยีปุ๋ยสั่งตัดเพื่อการผลิตข้าวของเกษตรกร ตำบลบ้านดง อำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น. แก่นเกษตร 46(พิเศษ)(1): 819-826.
2561 อรรถพล ไชยมาลา ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล และ ประภัสสร เกียรติสุรนนท์. 2561. กระบวนการยอมรับการใช้โสนอัฟริกันในการปรับปรุงดินเค็มในพื้นที่นาข้าวของเกษตรกร ตำบลพังงู อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี. แก่นเกษตร 46(พิเศษ)(1): 847-852.
2561 นพดล ภูมาลัย ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล และ ประภัสสร เกียรติสุรนนท์. 2561. การยอมรับมาตรฐานฟาร์มผึ้งของเกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. แก่นเกษตร 46(พิเศษ)(1): 853-859.
2561 นริศรา หมื่นหัสถ์ ประภัสสร เกียรติสุรนนท์ และ ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล. 2561. ความต้องการสื่อของหมอดินอาสาประจำตำบลในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในจังหวัดขอนแก่น. แก่นเกษตร 46(พิเศษ)(1): 860-865.
2561 เกรียงไกร แสนพลหาญ และ ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล. 2561. ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ของเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงน้ำดอกไม้สีทองส่งออกในอำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่. แก่นเกษตร 46(พิเศษ)(1): 887-893.
2560 สุพัฒตรา คณานิตย์, ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล และ ชัยชาญ วงษ์สามัญ. 2560. ความต้องการของเกษตรกรต่อการได้รับการพัฒนาการเกษตรจากองค์การบริหารส่วนตำบลหว้าทอง อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น. แก่นเกษตร 45(พิเศษ)(1): 1515-1521.
2560 ณัฏฐวุฑท์ กุตระแสง ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล และ นิวัฒน์ มาศวรรณา. 2560. พฤติกรรมการใช้สารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืชในการผลิตมะเขือเทศของเกษตรกรในจังหวัดสกลนคร. วารสารเกษตร 33(2): 235-244.
2560 นราธิป ศรีพั้ว และ ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล. 2560. ความต้องการการส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อของเกษตรกรในจังหวัดมหาสารคาม. วารสารเกษตรพระวรุณ 14(1): 104-112.
2560 ภาคภูมิ สุขีสนธิ์ และ ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล. 2017. การมีส่วนร่วมของเกษตรกรในการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำเพื่อการเกษตร ศึกษากรณี บึงแก่งน้ำต้อน อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น. แก่นเกษตร 45(3): 471-478.
   ระดับนานาชาติ
2565 Kongmanee, C., B. Somboonsuke, M. Boonkongma, P. Wettayaprasit, R. Chiarawipa, K. Sae-chong, K. Thatthong and P. Prapatigul. 2022. The livelihood adjustment of smallholding rubber farming systems (SRFS) in Southwestern Thailand: case study in Ranong, Krabi, Phangnga, and Phuket Provinces. Forest and Society 6(1): 202-225.
2565 Punyakwao, U., P. Prapatigul, S. Sreshthaputra, W. Intaruccomporn and N. Phayakka. 2022. Guidelines for developing the management potential of an organic rice farmers group in Chun District, Phayao Province. International Journal of Agricultural Technology 18(2): 745-758.
2565 Prapatigul, P. and S. Sreshthaputra. 2022. Causes and solution of forest and agricultural burning in Northern, Thailand. International Journal of Agricultural Technology 18(4): 1715-1726.
2565 Sreshthaputra, S., P. Prapatigul and N. Phayakka. 2022. Efficiency and effectiveness of high impact social responsibility projects, Chiang Mai University, Thailand. International Journal of Agricultural Technology 18(6): 2633-2644.
2564 Prapatigul, P. and S. Sreshthaputra. 2021. Technology transfer of beef cattle raising for productivity improvement based on intensive farming of beef cattle raising group in Pua District, Nan Province. International Journal of Agricultural Technology 17(1): 305-316.
2564 Wongphaiwan, K., P. Prapatigul, S. Sreshthaputra, W. Intaruccomporn and S. Yammuen-Art. 2021. Learning media needs of beef cattle farmers in Kong Khaek Sub-district, Mae Chaem District, Chiang Mai Province. International Journal of Agricultural Technology 17(3): 1209-1218.
2564 Somboonsuke, B. , M.H146:H148 Boonkongma, C. Kongmanee, K. Thatthong and P. Prapatigul. 2021. The connection between rubber production and livelihood under rubber farming system along with oil palm growing in the southeast coast of Thailand. International Journal of Agricultural Technology 17: 1147-1160.
2562 Anupong, W., I. Wallratat, S. Suraphol, P. Panuphan and P. Nathitakarn. 2019. Potential and opportunity for beef cattle production of the prototyre farmers: the case study of Mae Chaem District, Chiang Mai Province. Ponte 75(5): doi: 10.21506/j.ponte.2019.5.5.
2562 Wallratat Intaruccomporn, Suraphol Sreshthaputra, Panuphan Prapatigul, Nathitakarn Pinthukas and Anupong Wongchai. 2561. Livestock occupational extension of farmers for problems solving burning in agricultural zone: the Case Study of Mae Na Chon Sub-District, Mae Chaem district, Chiang Mai Province. IOP Conference Series: Earth and Environmental Science DOI:10.1088/1755-1315/347/1/012126.
บทความวิชาการเสนอในการประชุมวิชาการ
   ระดับชาติ
2566 ทับทิมทอง บุญรักษา ณฐิตากานต์ พยัคฆา ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล และ แสงทิวา สุริยงค์. 2566. ความรู้และการปฏิบัติด้านการผลิตเห็ดหอมของเกษตรกรในพื้นที่มูลนิธิโครงการหลวง. หน้า 638-645. ใน: การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 4, เชียงใหม่.
2566 ปรียานุช นิพาพันธ์ สุรพล เศรษฐบุตร ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล และ ชาญชัย แสงชโยสวัสดิ์. 2566. ทัศนคติและพฤติกรรมของเกษตรกรในการใช้สมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัล อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่. หน้า 653-660. ใน: การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 4, เชียงใหม่.
2563 จุฑามาศ นิลพันธ์ สุรพล เศรษฐบุตร ภาณุพันธ์ ประภาติกุล และ ทศพล มูลมณี. 2563. ความต้องการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรในเขตภาคเหนือตอนบน. หน้า 560-569. ใน: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 58, กรุงเทพฯ
2563 วีร์สุดา ศรีจันทร์ ณฐิตากานต์ พยัคฆา ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล ฟ้าไพลิน ไชยวรรณ. 2563. ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีปุ๋ยสั่งตัดของเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย. หน้า 1050-1062. ใน: การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 10, นนทบุรี
2562 จิรเดช ศรีวิลัย บุศรา ลิ้มนิรันดร์กุล ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล และ ประทานทิพย์ กระมล. 2562. ผลลัพธ์ด้านทุนการดำรงชีพต่อการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง บ้านไร่กองชิง ตำบลหนองควาย อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่. หน้า 1997-2003. ใน: การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 16, นครปฐม.
2562 รุ้งลาวัลย์ รัญจวรรณะ สุรพล เศรษฐบุตร ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล และ ธนะชัย พันธ์เกษมสุข. 2562. พฤติกรรมการเปิดรับสื่อทางการเกษตรของเกษตรกรในโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ (ข้าว) ตำบลปางหมู อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน. หน้า 3129-3136. ใน: การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 16, นครปฐม.
2561 วิจิตรา บุรุษภักดี สุรพล เศรษฐบุตร ภาณุพันธุ์ ประภาติกุล และ ธนะชัย พันธ์เกษมสุข. 2561. ความรู้และการปฏิบัติของเกษตรกรผู้ปลูกเสาวรสหวานตามหลักการปฏิบัติทางการเกษตรทดีและเหมาะสม ในพื้นที่โครงการหลวง จังหวัดเชียงใหม่. หน้า 219-227. ใน: การประชุมวิชาการครั้งที่ 10 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ประจำปี 2561, สงขลา.
   ระดับนานาชาติ
บทความในหนังสือประมวลผลการประชุมทางวิชาการ
การรับเครื่องราชฯ Thai Royal Decoration
- 2567 : ตริตาภรณ์มงกุฎไทย
- 2564 : จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก