รูปประจำตัว
รองศาสตราจารย์ ดร. อังสนา อัครพิศาล
Associate Professor Dr. Angsana Akarapisan
ข้าราชการ
รองศาสตราจารย์
สาขาวิชาโรคพืช ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โทรศัพท์ : 0-5394-4021-2
อีเมล : angsana.a@cmu.ac.th
การศึกษา Education
- 2543 : ปริญญาเอก Doctor of Philosophy (Molecular Biology(Virus)), University of Bath, สหราชอาณาจักร (อังกฤษ)
- 2533 : ปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ไทย
- 2529 : ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ไทย
ความเชี่ยวชาญ Expertise
- ผลงานวิจัย : สาขา โรคพืช เรื่อง Selection and development of Virus Resistance Potato by using Protoplast Culture and Fusion Technique วันที่ 05/09/2549
- เอกสารประกอบการสอน / เอกสารคำสอน : สาขา โรคพืช รายวิชา การประยุกต์ใช้เทคนิคระดับโมเลกุลทางด้านโรคพืช วันที่ 05/09/2549
- ผลงานวิจัย : สาขา โรคพืช เรื่อง การคัดเลือกแบคทีเรียปฏิปักษ์บนผิวใบเพื่อควบคุมโรคแคงเกอร์ของส้ม วันที่ 05/09/2549
- ผลงานวิจัย : สาขา โรคพืช เรื่อง โรคฮวงลองบิง (กรีนนิ่ง) ของสืมในจังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 05/09/2549
- ผลงานวิจัย : สาขา โรคพืช เรื่อง การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตกระเทียมโดยวิธีสร้างพันธุ์ปลอดโรคและคัดเลือกพันธุ์ดี วันที่ 05/09/2549
- ผลงานวิจัย : สาขา โรคพืช เรื่อง การเปรียบเทียบลายพิมพ์ดีเอ็นเอในไมโตคอนเดรียเพื่อการจำแนกพันธู์ไหมไทยพื้นเมือง วันที่ 05/09/2549
- ผลงานวิจัย : สาขา โรคพืชวิทยา วันที่ 23/12/2562
งานบริหาร Management
- หัวหน้าภาควิชา ภาควิชากีฎวิทยาและโรคพืช (28/02/2558 - 27/02/2562)
- รองคณบดี คณะเกษตรศาสตร์ (01/05/2553)
- ผู้ช่วยคณบดี คณะเกษตรศาสตร์ (01/10/2552 - 01/05/2553)
- ผู้ช่วยคณบดี คณะเกษตรศาสตร์ (01/04/2549)
งานสอน Teaching
360210 : โรคพืชเบื้องต้น
360301 : เทคนิคทางโรคพืช
360411 : โรคพืชที่เกิดจากแบคทีเรีย (Bacterial diseases of plants)
360471 : การประยุกต์ใช้เทคนิคระดับโมเลกุลทางด้านโรคพืชและการเกษตร
360499 : ปัญหาพิเศษ
360711 : Advanced Plant Pathogenic Bacteria
360772 : เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการป้องกันกำจัดศัตรูพืช
360795 : ปัญหาพิเศษปริญญาโท
360799 : วิทยานิพนธ์
เอกสารวิชาการ
วารสาร
   ระดับชาติ
2567 อรณภา เชียงแขก และ อังสนา อัครพิศาล. 2567. ประสิทธิภาพและคุณสมบัติของแบคทีเรีย Bacillus velezensis ไอโซเลท BB35 ในการควบคุมเชื้อแบคทีเรีย Burkholderia gladioli สาเหตุโรคใบขีดและลำต้นเน่าของข้าวโพดหวาน. แก่นเกษตร 52(2): 273-286.
2566 จิตรลดา จารุหิรัญโรจน์ อรอุมา เรืองวงษ์ อังสนา อัครพิศาล ณัฏฐวัฒณ์ หมื่นมาณี และ เยาวลักษณ์ จันทร์บาง. 2566. การควบคุมด้วงเมล็ดกาแฟ (Araecerus fasciculatus) ด้วยคลื่นความถี่วิทยุ. วารสารเกษตร 39(1): 11-21.
2566 ชยามร ถาวร และ อังสนา อัครพิศาล. 2566. การคัดเลือกและศึกษาลักษณะของแบคทีเรียปฏิปักษ์ที่มีศักยภาพในการควบคุม Xanthomonas oryzae pv. oryzae สาเหตุโรคขอบใบแห้งของข้าวก่ำ. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า 41(3): 233-241.
2565 อทิตยา คำวินิจ อังสนา อัครพิศาล พรสุข ชัยสุข ธีรนิติ พวงกฤษ และ เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี. 2565. การคัดเลือกพันธุ์ปทุมมาลูกผสมต้านทานต่อโรคเหี่ยวเขียวที่เกิดจากแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum species complex. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 40(2): 160-168.
2564 ณัฏฐวัฒณ์ หมื่นมาณี อรอุมา เรืองวงษ์ อังสนา อัครพิศาล และ เยาวลักษณ์ จันทร์บาง. 2564. อิทธิพลของคลื่นความถี่วิทยุต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวเมล็ดกาแฟอะราบิกา. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 52(พิเศษ)(2): 69-72.
2561 สุดารัตน์ แก้วน้ำอ่าง อังสนา อัครพิศาล และ อรอุมา เรืองวงษ์. 2651. การคัดเลือกไรโซแบคทีเรียในการควบคุมโรคผลเน่าที่เกิดจากแบคทีเรียของเมลอน. วารสารเกษตร 34(2): 193-204.
2561 พรนิภา ถาโน และ อังสนา อัครพิศาล. 2561. การพัฒนาชีวภัณฑ์จาก Bacillus amyloliquefaciens เพื่อควบคุมโรคเหี่ยวของปทุมมา (Curcuma alismatifolia). วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 49(พิเศษ)(1): 650-652.
2560 Akarapisan, A., A. Kumvinit and S. Ruamrungsri. 2017. Bulb Rot of Amaryllis Caused by Sclerotium rolfsii and Effect of Fungicides on in vitro Inhibition of Mycelial Growth. Asian Journal of Plant Pathology 11(2): 95-101.
2559 Akarapisan, A., W. Kuenpech and K. Srimai. 2016. Huanglongbing (HLB) incidence on 2-3 years old tangerine trees (Citrus reticulata) grown from disease-free nursery stock. International Journal of Agricultural Technology 12: 1-9.
2559 Kumvinit., A. and A. Akarapisan. 2016. Identification of Colletotrichum acutatum and screening of antagonistic bacteria isolated from strawberry in Chiang Mai, Thailand. International Journal of Agricultural Technology 12(4): 693-706.
2558 Sirinunta, A and A. Akarapisan. 2015. Screening of Antagonistic Bacteria for Controlling Cercospora coffeicola in Arabica Coffee. Journal of Agricultural Technology 11: 1209-1218.
2558 Kuntawee, S and A. Akarapisan. 2015. Isolation and identification of Aspergillus species producing Ochratoxin A in Arabica coffee beans. Journal of Agricultural Technology 11: 1235-1242.
   ระดับนานาชาติ
2567 Chiangkhaek, O. and A. Akarapisan. 2024. Characterization and identification of Burkholderia gladioli causing stalk rot of sweet corn in Thailand. Journal of Phytopathology 172(3): e13314.
2566 Kumvinit A. and A. Akarapisan. 2023. Antibiotic biosynthesis gene of Bacillus velezensis as a bioagent for controlling blackleg and soft rot of potato. International Journal of Agricultural Technology 19(2): 505-516.
2566 Srimai K. and A. Akarapisan. 2023. Occurrence, Identification and Preliminary Biological Control of Bulb Rot of Onion (Allium cepa). Chiang Mai Journal of Science 50(3): 1-13.
2566 Akarapisan A., A. Kumvinit, S. Falert and W. Kositratana. 2023. Identification and Detection of a Virulence Gene of Streptomyces scabies Causing Potato Scab in Thailand. Chiang Mai University Journal of Natural Sciences 22(2): 1-12.
2565 Akarapisan, A., A. Kumvinit, C. Nontaswatsri, T. Puangkrit and W. Kositratana. 2022. Isolation and characterization of KDML105 aromatic rice rhizobacteria producing indole-3-acetic acid: impact of organic and conventional paddy rice practices. Journal of Phytopathology 170(3): 176-184.
2565 Yoosumran, V., K. Saetiew, M. Teerarak, S. Ruamrungsri, A. Akarapisarn and M.Teerarak. 2022. Micropropagation of young inflorescence Curcuma hybrid In vitro. International Journal of Agricultural Technology 18(3): 1367-1380.
2565 Soongnern, L., J. Chuapong, H. Arunothayanan, M. Sratongjun, C. Relevante, S.J. de Hoop and A. Akarapisan. 2022. Phylotype and sequevar analysis of a Ralstonia pseudosolanacearum causing wilt in marigold (Tagetes erecta). Journal of Plant Pathology 104(4): 1499-1508.
2563 Akarapisan, A., J. Khamtham and W. Kositratana. 2020. Characterization of antagonistic–potential of Bacillus velezensis SK71 against bacterial brown spot on a terrestrial orchid (Habenaria lindleyana). International Journal of Agricultural Technology 16(1): 1-18.
2563 Kumvinit, A., and A. Akarapisan. 2020. Surfactin production, biofilm formation and antagonistic activity against phytopathogens by Bacillus velezensis. Asian Journal of Plant Pathology 14(1): 27-35.
2562 Khamtham, J and A. Akarapisan. 2019. Acidovorax avenae subsp. cattleyae causes bacterial brown spot disease on terrestrial orchid Habenaria lindleyana in Thailand. Journal of Plant Pathology 101(1): 31-37.
2562 Falert, S and A. Akarapisan. 2019. Identification of Fusarium spp. causing dry rot of seed potato tubers in northern, Thailand. International Journal of Agricultural Technology 15: 567-578.
2562 Kumvinit, A and A. Akarapisan. 2019. Characterization of blackleg and soft rot from potato in northern Thailand. Journal of Phytopathology 167(11-12): 655-666 DOI: 10.1111/jph.12859.
2561 Sroykaew, J., K. Leksakul, D. Boonyawan and A. Akarapisan. 2018. Treating white leaf disease in sugarcane cuttings using solution plasm. Chiang Mai University Journal of Natural Sciences 17(1): 61-72.
2561 Thano, P. and A. Akarapisan. 2018. Phylotype and sequevar of Ralstonia solanacearum which causes bacterial wilt in Curcuma alismatifolia Gagnep. Letters in Applied Microbiology 66(5): 384-393.
2561 Supakitthanakorn, S., A. Akarapisan and O.-U. Ruangwong. 2018. First record of melon yellow spot virus in pumpkin and its occurrence in cucurbitaceous crops in Thailand. Australasian Plant Disease Notes 13(1):32.
การรับเครื่องราชฯ Thai Royal Decoration
- 2564 : ประถมาภรณ์มงกุฎไทย
- 2560 : เหรียญจักรพรรดิมาลา
- 2552 : ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก
- 2548 : ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย
- 2542 : ตริตาภรณ์ช้างเผือก
- 2540 : ตริตาภรณ์มงกุฎไทย