ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อรอุมา เรืองวงษ์
Assistant Professor Dr. On-uma Ruangwong
พนักงานมหาวิทยาลัยประจำ สายวิชาการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สาขาวิชาโรคพืช ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โทรศัพท์ : 053 944022
อีเมล : on-uma.r@cmu.ac.th
การศึกษา Education
- 2556 : ปริญญาเอก Doctor of Philosophy (Plant Pathology), National Pingtung University of Science and Technology, ไต้หวัน
งานบริหาร Management
- ผู้ช่วยคณบดี คณะเกษตรศาสตร์ (01/10/2567 - 30/09/2571)(ดำรงตำแหน่ง)
- ผู้ช่วยคณบดี คณะเกษตรศาสตร์ (01/10/2563 - 31/12/2563)(ลาออก)
- ผู้ช่วยคณบดี คณะเกษตรศาสตร์ (02/03/2561 - 30/09/2563)(ครบวาระตามหัวหน้าผู้เสนอ)
งานสอน Teaching
360497 : สัมมนา 1
360498 : สัมมนา 2
เอกสารวิชาการ
วารสาร
ระดับชาติ
2566
จุฑามาส สงวนทรัพย์ อรอุมา เรืองวงษ์ พิมพ์ใจ สีหะนาม พลกฤษณ์ มณีวระ และ ฉันทลักษณ์ ติยายน. 2566. การประเมินคุณภาพผลและการวิเคราะห์องค์ประกอบหลักของมะม่วงน้ำดอกไม้สีทองที่มีอาการเนื้อโพรง. วารสารเกษตร 39(1): 81-90.
2566
จิตรลดา จารุหิรัญโรจน์ อรอุมา เรืองวงษ์ อังสนา อัครพิศาล ณัฏฐวัฒณ์ หมื่นมาณี และ เยาวลักษณ์ จันทร์บาง. 2566. การควบคุมด้วงเมล็ดกาแฟ (Araecerus fasciculatus) ด้วยคลื่นความถี่วิทยุ. วารสารเกษตร 39(1): 11-21.
2566
ชิษณุพงศ์ เพชรพรรณ ฉัตรสุดา เผือกใจแผ้ว สุดารัตน์ จีโน ศลิษฎ์ ศุภกิจธนากร เกวลิน คุณาศักดิ์ดากุล และ อรอุมา เรืองวงษ์. 2566. การควบคุมโรค Dieback ของสตรอว์เบอร์รีที่เกิดจาก Lasiodiplodia theobromae โดยการใช้ Bacillus spp. แก่นเกษตร 51(ฉบับเพิ่มเติม 1): 264-270.
2565
สุดารัตน์ จีโน สุภัทร์สรณ์ ไชยรัตน์ ศลิษฎ์ ศุภกิจธนากร และ อรอุมา เรืองวงษ์. 2565. ประสิทธิภาพของ Bacillus subtilis S93 และ Bacillus siamensis RFCD306 ในการควบคุมเชื้อรา Fusarium oxysporum สาเหตุโรคเหี่ยวของเบญจมาศในห้องปฏิบัติการ. วารสารแก่นเกษตร 50(1): 184-190.
2565
อรณภา เชียงแขก มวัดดะห์ แวหะมะ ศลิษฎ์ ศุภกิจธนากร และ อรอุมา เรืองวงษ์. 2565. การปรับปรุงเทคนิค multiplex RT-PCR ในการตรวจหายีนที่กำหนดการสร้างสารปฏิชีวนะ สำหรับใช้เป็นวิธีการคัดเลือกแบคทีเรียปฏิปักษ์เพื่อใช้ในการควบคุมโรคพืช. วารสารแก่นเกษตร 52(1): 191-196.
2565
ปฐมพร ไชยะ เจนจิรา บุญรักษา เอมลิน พิพัฒนภักดี ฉันทลักษณ์ ติยายน อรอุมา เรืองวงษ์ ดนัย บุณยเกียรติ และ พิมพ์ใจ สีหะนาม. 2565. ผลของอุณหภูมิและต้นแบบชีวภัณฑ์จากเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ Bacillus siamensis RFCD306 ต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาของผลลำไยพันธุ์ดอ. วารสารเกษตร 38(1): 27-40.
2564
ฉัตรสุดา เผือกใจแผ้ว ชิษณุพงศ์ เพชรพรรณ และ อรอุมา เรืองวงษ์. 2564. การประเมินความต้านทานต่อสารป้องกันกำจัดเชื้อราบางชนิดของรา Colletotrichum spp. ที่ก่อโรคในพริก. วารสารแก่นเกษตร 48(พิเศษ)(1): 801-807.
2564
ฐิตาภรณ์ เรืองกูล ธารทิพย์ ภาสบุตร อรทัย วงค์เมธา ฉัตรสุดา เผือกใจแผ้ว และ อรอุมา เรืองวงษ์. 2564. การประเมินความต้านทานของพันธุ์มันฝรั่งต่อเชื้อรา Phytophthora infestans ในสภาพโรงเรือน. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการเกษตร 38(3): 28-38.
2564
เอมลิน พิพัฒนภักดี ดนัย บุณยเกียรติ ฉันทลักษณ์ ติยายน พิมพ์ใจ สีหะนาม และ อรอุมา เรืองวงษ์. 2564. การสำรวจโรคผลเน่าของลำไยหลังการเก็บเกี่ยว. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 52(พิเศษ)(2): 61-64.
2564
ณัฏฐวัฒณ์ หมื่นมาณี อรอุมา เรืองวงษ์ อังสนา อัครพิศาล และ เยาวลักษณ์ จันทร์บาง. 2564. อิทธิพลของคลื่นความถี่วิทยุต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวเมล็ดกาแฟอะราบิกา. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 52(พิเศษ)(2): 69-72.
2562
ศลิษฎ์ ศุภกิจธนากร และ อรอุมา เรืองวงษ์. 2562. การตรวจสอบเชื้อไวรัสในเมลอนและแคนตาลูปที่ปลูก ในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย และลำพูน. วารสารเกษตร 35(1): 75-85.
2562
เอมลิน พิพัฒนภักดี ดนัย บุณยเกียรติ ฉันทลักษณ์ ติยายน พิมพ์ใจ สีหะนาม และ อรอุมา เรืองวงษ์. 2562. การตรวจหาเชื้อสาเหตุโรคผลเน่าของลำไยหลังการเก็บเกี่ยวและการคัดเลือกแบคทีเรียปฏิปักษ์ในการควบคุมโรค. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 50(พิเศษ)(3): 139-142.
2561
จันทรา อุปาลี และ อรอุมา เรืองวงษ์. 2561. การคัดเลือกไรโซแบคทีเรียที่เป็นปฏิปักษ์ต่อเชื้อสาเหตุโรคต้นแตกยางไหลของเมลอน. วารสารเกษตร 34(2): 179-191.
2561
สุดารัตน์ แก้วน้ำอ่าง อังสนา อัครพิศาล และ อรอุมา เรืองวงษ์. 2651. การคัดเลือกไรโซแบคทีเรียในการควบคุมโรคผลเน่าที่เกิดจากแบคทีเรียของเมลอน. วารสารเกษตร 34(2): 193-204.
2561
อรอุมา เรืองวงษ์ จันทรา อุปาลี นฤภร เทพสุวรรณ์ และ พิมพ์ใจ สีหะนาม. 2561. อิทธิพลของปุ๋ยวีสต้า เคเอส ความเข้มข้นต่าง ๆ ต่อคุณภาพของผลลำไยพันธุ์ดอระยะผลแก่ทางการค้า. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 49(พิเศษ)(1): 571-574.
2560
อรอุมา เรืองวงษ์ และ เบญจวรรณ ใจจันทรา. 2560. การใช้แอคติโนมัยซีทจากดินเพื่อยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum สาเหตุโรคเหี่ยวเขียวของมะเขือเทศ. วารสารเกษตร 33(1): 49-59.
ระดับนานาชาติ
2567
Supakitthanakorn, S., O. Himananto and O. Ruangwong. 2024. Survey and detection of virus and viroid diseases from chrysanthemum in Thailand. Acta Horticulturae 1392: 15-24.
2567
Athinuwat, D., O.-U. Ruangwong, D. L. Harishchandra, K. Pitija and A. Sunpapao. 2024. Biological Control Activities of Rhizosphere Fungus Trichoderma virens T1-02 in Suppressing Flower Blight of Flamingo Flower (Anthurium andraeanum Lind.). Journal of Fungi 10(1): 66.
2567
Seehanam, P., K. Sonthiya, P.t Maniwara, P. Theanjumpol, O. Ruangwong, K. Nakano, S. Ohashi, S. Kramchote and P. Suwor. 2024. Ability of near infrared spectroscopy to detect anthracnose disease early in mango after harvest. Horticulture Environment and Biotechnology 65:1-11.
2567
Athinuwat, D., O.-U. Ruangwong, D. L. Harishchandra, F. Latehnuering and A. Sunpapao. 2024. Morphology and molecular characterization of Colltetotrichum siamense associated with leaf spot disease of rubber tree (Hevea brasiliensis) in southern Thailand. Physiological and Molecular Plant Pathology 130: 102248.
2566
Supakitthanakorn, S., K. Vichitrakoonthaworn, K. Kunasakdakul and O.-U. Ruangwong. 2023. Development of real-time polymerase chain reaction (qPCR) for quantitative detection of chrysanthemum chlorotic mottle viroid (CChMVd) and chrysanthemum stunt viroid (CSVd) from chrysanthemum. International Journal of Agricultural Technology 19(1): 243–256.
2566
Pipattanapuckdee, A., P. Seehanam, C. Tiyayon, D. Boonyakait, K. Kunasakdakul, S. Supakitthanakorn and O.-U. Ruangwong. 2023. Inhibition of Lasiodiplodia pseudotheobromae Causing Fruit Rot Disease of Longan by Using Antagonistic Bacillus siamensis RFCD306. Chiang Mai Journal of Science 50(1): e2023004.
2566
Supakitthanakorn, S., O.-U. Ruangwong, C. Sawangrat, W. Srisuwan and D. Boonyawan. 2023. Potential of Nonthermal Atmospheric-Pressure Dielectric Barrier Discharge Plasma for Inhibition of Athelia rolfsii Causing Southern Blight Disease in Lettuce. Agriculture 13(1): 167.
2566
Latehnuering, F., C. Pornsuriya, P. Wonglom, O.-U. Ruangwong and A. Sunpapao. 2023. New Report of Curvularia pseudobrachyspora Causing Brown Spot on Costa Rican Pitahaya Fruit (Hylocereus costaricensis) in Thailand. Chiang Mai Journal of Science 50(1): e2023003.
2566
Phetphan C., S. Supakitthanakorn, C. Phuakjaiphaeo, A. Pipattanapuckdee, K. Kunasakdakul and O.-U. Ruangwong. 2023. Biological and molecular characterization of Lasiodiplodia theobromae causing dieback disease of strawberry in Thailand. Journal of Phytopathology : 10.1111/jph.13181.
2566
Pupakdeepan, W., N. Termsung, O-U. Ruangwong and K. Kunasakdakul. 2023. Plant Growth Promoting and Colonization of Endophytic Streptomyces albus CINv1 against Strawberry Anthracnose. Horticulturae 9(7): 766.
2566
Supakitthanakorn, S., O.-U. Ruangwong and D. Boonyawan. 2023. Inactivation of Cercospora lactucae-sativa through Application of Non-Thermal Atmospheric Pressure Gliding Arc, Tesla Coil and Dielectric Barrier Discharge Plasmas. Applied Sciences 13(1): 6643.
2565
Ruangwong, O.-U., K. Kunasakdakul, W. Daengsuwan, P. Wonglom, K. Pitija and A. Sunpapao. 2022. A Streptomyces rhizobacterium with antifungal properties against spadix rot in flamingo flowers. Physiological and Molecular Plant Pathology 117: 101784.
2565
Supakitthanakorn, S., K. Vichittragoontavorn, K. Kunasakdakul and O.Ruangwong. 2022. Simultaneous and sensitive detection of CVB, CChMVd and CSVd mixed infections in chrysanthemum using multiplex nested RT-PCR. International Journal of Agricultural Technology 18(2): 857-870.
2565
Ruangwong, O.-U., K. Kunasakdakul, P. Wonglom, K.S. Dy and A. Sunpapao. 2022. Morphological and molecular studies of a rare mucoralean species causing flower rot in Hylocereus polyrhizus. Journal of Phytopathology 170(4): 214-220.
2565
Supakitthanakorn, S., K. Vichittragoontavorn, A. Sunpapao, K. Kunasakdakul, P. Thapanapongworakul and O.Ruangwong. 2022. Tobacco Mosaic Virus Infection of Chrysanthemums in Thailand: Development of Colorimetric Reverse-Transcription Loop-Mediated Isothermal Amplification (RT–LAMP) Technique for Sensitive and Rapid Detection. Plants 11(14) : 10.3390/plants11141788.
2565
Supakitthanakorn, S., K. Vichittragoontavorn, K. Kunasakdakul and O.Ruangwong. 2022. Phylogenetic analysis and molecular characterization of chrysanthemum chlorotic mottle viroid and chrysanthemum stunt viroid from chrysanthemum in Thailand. Journal of Phytopathology : 10.1111/jph.13134.
2565
Seehanam, P., P. Chaiya, P.Theanjumpol, C. Tiyayon, O. Ruangwong, T. Pankasemsuk, K. Nakano, S. Ohashi and P. Maniwara. 2022. Internal disorder evaluation of ‘Namdokmai Sithong’ mango by near infrared spectroscopy. Horticulture Environment and Biotechnology 63(5): 665-675.
2565
Supakitthanakorn, S., K. Vichittragoontavorn, K. Kunasakdakul, N. Mukjang, C. Phuakjaiphaeo and O.-U. Ruangwong. 2022. Development of Colorimetric Loop-Mediated Isothermal Amplification (LAMP) Technique for Rapid, Sensitive and Convenient Detection of Chrysanthemum Chlorotic Mottle Viroid (CChMVd) in Chrysanthemum. Chiang Mai Journal of Science 49(5): 1296-1306.
2565
Supakitthanakorn, S., K. Vichittragoontavorn, K. Kunasakdakul and O.-U. Ruangwong . 2022. Development of the colorimetric loop-mediated isothermal amplification technique for rapid and sensitive detection of chrysanthemum stunt viroid in chrysanthemum. Journal of Plant Protection Research 62(3): 272-280.
2565
Ruangwong, O.-U., K. Kunasakdakul, S. Chankaew, K. Pitija and A. Sunpapao. 2022. A Rhizobacterium, Streptomyces albulus Z1-04-02, Displays Antifungal Activity against Sclerotium Rot in Mungbean. Plants 11(19): 2607, doi: 10.3390/plants11192607.
2565
Supakitthanakorn, S., T. Mochizuki, K. Vichittragoontavorn, K. Kunasakdakul, P. Thapanapongworakul and O.-U. Ruangwong. 2022. First characterisation of chrysanthemum virus B infecting chrysanthemum in Thailand and development of colourimetric RT-LAMP for rapid and sensitive detection. Folia Horticulturae 34(2): 151-161.
2564
Ruangwong, O.-U., P. Wonglom, N. Suwannarach, J. Kumla, N. Thaochan, P. Chomnunti, K. Pitija and A. Sunpapao. 2021. Volatile organic compound from Trichoderma asperelloides TSU1: Impact on plant pathogenic fungi. Journal of Fungi 7(3): 1-13.
2564
Ruangwong, O.-U., C. Pornsuriya, K. Pitija and A. Sunpapao. 2021. Biocontrol mechanisms of Trichoderma koningiopsis PSU3-2 against postharvest anthracnose of chili pepper. Journal of Fungi 7(4): 276.
2564
Ruangwong, O.-U., P. Wonglom, N. Phoka, N. Suwannarach, S. Lumyong, S.-I. Ito and A. Sunpapao. 2021. Biological control activity of Trichoderma asperelloides PSU-P1 against gummy stem blight in muskmelon (Cucumis melo). Physiological and Molecular Plant Pathology 115: 101663.
2564
Van Doan, H., C. Lumsangkul, O.-U. Ruangwong, R. Meidong, S.H. Hoseinifar, M.A.O. Dawood, M.N. Azra, S. Jatursitha and Carnevali O. 2021. Effects of host-associated probiotic Bacillus altitudinis B61-34b on growth performance, immune response and disease resistance of Nile tilapia (Oreochromis niloticus) raised under biofloc system. Aquaculture Nutrition 27(4): 61-72.
2562
Pipattanapuckdee, A., D. Boonyakait, C. Tiyayon, P. Seehanam and O.-U. Ruangwong. 2019. Lasiodiplodia pseudotheobromae causes postharvest fruit rot of longan in Thailand. Australasian Plant Disease Notes 14(1): 21.
2561
Supakitthanakorn, S., A. Akarapisan and O.-U. Ruangwong. 2018. First record of melon yellow spot virus in pumpkin and its occurrence in cucurbitaceous crops in Thailand. Australasian Plant Disease Notes 13(1):32.
การรับเครื่องราชฯ Thai Royal Decoration
- 2563 : จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก