งานวิจัย บริการวิชาการ เอกสารวิชาการ เข้าระบบ  
  หน้าแรก

   หน่วยงาน-ภาควิชา
โครงสร้างการแบ่งส่วนองค์กร
สำนักงานคณะ
สาขาวิชากีฎวิทยา
สาขาวิชาโรคพืช
สาขาวิชาพืชไร่
สาขาวิชาพืชสวน
สาขาวิชาปฐพีศาสตร์และอนุรักษศาสตร์
สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
สาขาวิชาส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร
ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ
ศูนย์วิจัย สาธิตและฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ
ศูนย์วิจัยระบบทรัพยากรเกษตร
ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง
ศูนย์บริการวิชาการ และถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร


   หน่วยงานคณะเกษตรศาสตร์

สาขาวิชากีฎวิทยา
Division of Entomology

เว็บไซต์ http://web.agri.cmu.ac.th/ent/
โทรศัพท์0-5394-4026
โทรสาร 0-5394-4666
กิจกรรม ปฏิทินกิจกรรม (activity calendar)
หน้า[ 1 ]

แนะนำ

ในปี พ.ศ.2519 คณะเกษตรศาสตร์ ได้จัดตั้งภาควิชาอารักขาพืชขึ้น ซึ่งมีการแบ่งส่วนเป็น 2 หมวดวิชา คือ กีฏวิทยา และโรคพืช หมวดวิชาทั้งสองได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งปี 2524 ได้มีการยุบภาควิชาอารักขาพืช และยกฐานะหมวดวิชาในสังกัดเพื่อแบ่งส่วนราชการใหม่ เป็น 2 ภาควิชา คือ ภาควิชากีฏวิทยา และภาควิชาโรคพืช

หลังสูตร

ปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต(เกษตรศาสตร) หลักสูตร 4 ปี มีจุดมุ่งหมายที่จะให้นักศึกษา มีความรู้ และเชี่ยวชาญทางด้านกีฏวิทยา ปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต(เกษตรศาสตร) หลักสูตร 2 ปี มีจุดมุ่งหมายที่จะผลิตนักวิชาการและนักวิจัยระดับสูงในสาขากีฏวิทยา ให้เพียงพอกับความต้องการของประเทศ

สาขาที่สอน

ภาควิชากีฏวิทยา แบ่งได้เป็น 7 หมวดวิชาคือ
1. หมวดแมลงศัตรูสำคัญทางเศรษฐกิจ
2. หมวดวิชาแมลงนิเวศวิทยาของแมลง
3. หมวดวิชาระบบอนุกรมวิธานแมลง
4. หมวดวิชากีฏวิทยาทางอุตสาหกรรม
5. หมวดวิชาหลักการบริหารแมลงศัตรูสำคัญ
6. หมวดวิชาพิษวิทยาสำหรับแมลง
7. หมวดวิชาเทคนิคการวิจัยทางกีฏวิทยา

Introduction

The teaching programs emphasize on both theoretical and practical training in the areas of biology, ecology, anatomy, physiology, morphology, acaridology (mitulogy), toxicology, and systematic of insect pests and other animals. We also provide the students with tactics relevant to Integrated Pest Management (IPM) that will ensure favorable economic, ecological, and sociological consequences. This IPM tactics help control and improve the environmental quality by suppressing pests while minimizing the adverse impact on cultivated crops, non-target animals and human beings, and the awareness of overall contamination of the agro-ecosystem and the environment. Our department offer two teaching programs leading to a Bachelor of Science and a Master of Science degrees that would serve to make the challenge more explicit to the professional entomologists and help to stimulate the students toward the career opportunities in this vital area. In addition, our department also engage in teaching and conducting research the management of economic insects i.e. honeybees, silkworm moth, and lac insect, and undertaking mass culture of parasitoids, predatory insects, and edible insects.

History

Department of Entomology was established in 1981 by upgrading the entomology section of the formerly Department of Plant Protection to accommodate the growth in entomological research and development for sustaining the socio-economically needs of the nation.

Major

The academic program divides into seven divisions of the following:
1. Economic Entomology
2. Insect Ecology
3. Insect Systematic
4. Industrial Entomology
5. Insect Pest Management
6. Insect Toxicology
7. Entomological Research Techniques

ภาพประกอบ

ภาพประกอบ


      Nedstat Basic   www.agri.cmu.ac.th